ประวัติผู้เกษียณอายุราชการ
- เกิดวันที่
- 3 พฤษภาคม 2507
- บิดาชื่อ
- นายจัน ใจมโน
- มารดาชื่อ
- นางจันคำ ใจมโน
- คู่สมรส
- นางขนิษฐา ใจมโน
- ที่อยู่ปัจจุบัน
- 376 หมู่ 3 บ้านนาแก้วตะวันออก ตำบลนาแส่ง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง 52130
ประวัติการศึกษา
- พ.ศ. 2527 - 2531
- พุทธศาสตรบัณฑิต สาขา : ศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- พ.ศ. 2531 - 2535
- ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขา : ภาษาสันสกฤต มหาวิทยาลัยศิลปากร
- พ.ศ. 2536 - 2542
- Doctor of Philosophy สาขา : Sanskrit University of Delhi, India
อิสริยาภรณ์และเกียรติยศที่ได้รับ
- 5 ธันวาคม 2553
- ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.)
- 28 กรกฎาคม 2564
- ตริตาภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.)
ประวัติการรับราชการ
- 8 มิถุนายน 2558
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
- 10 กันยายน 2561 - ปัจจุบัน
- รองศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
ประวัติการทำงาน
- 8 มิถุนายน 2558
- ตำแหน่ง อาจารย์ หน่วยงาน ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- 19 มกราคม พ.ศ. 2549
- ตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) สาขาวิชาภาษาไทย
- 8 มิถุนายน พ.ศ. 2558
- ตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง) สาขาวิชาภาษาไทย
- 10 กันยายน พ.ศ. 2561
- ตำแหน่ง รองศาสตราจารย์ (มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง) สาขาวิชาภาษาไทย
ตำแหน่งทางการบริหาร
- พ.ศ. 2563-ปัจจุบัน
- ประธานสาขาวิชาภาษาไทย (ศิลปศาสตมหาบัณฑิต) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
- พ.ศ. 2558-พ.ศ. 2563
- ประธานสาขาวิชาภาษาไทย (ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
- พ.ศ. 2547 - พ.ศ. 2551
- รองผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรมราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/หนังสือ
- บุญเหลือ ใจมโน. (2564). ภาษาบาลีสันสกฤตในภาษาไทย (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: ดีเซมเบอรี่.
- บุญเหลือ ใจมโน. (2564). อักษรธรรมล้านนา. กรุงเทพฯ: ดีเซมเบอรี่.
- บุญเหลือ ใจมโน. (2564). สุนทรียภาพในบทกวีนิพนธ์. กรุงเทพฯ: ดีเซมเบอรี่.
- บุญเหลือ ใจมโน. (2561). ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
- บุญเหลือ ใจมโน. (2547). การแต่งคำประพันธ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
บทความวิจัย
- Juan Cha, Kanita Chaimano, Boonlue Chaimano, and Truong Thi Hang. (2024). A Brief Analysis of Loanwords in Mandarin Chinese and Thai. Journal of Roi Kaensarn Academi. 9(1). January, pp. 602-614. (TCI 1)
- ชญานิน บุญส่งศักดิ์, ขนิษฐา ใจมโน, บุญเหลือ ใจมโน และสนม ครุฑเมือง. (2566). กลวิธีการใช้ภาษาไทยในการแสดงความไม่พอใจของนักศึกษาไทย: การศึกษาตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์. 8(4). วารสารร้อยแก่นสาร. เมษายน, หน้า 475-489. (TCI 1)
- พระครูปลัดณฐกร ไชยบุตร, บุญเหลือ ใจมโน, สนม ครุฑเมือง และพระเทพวัชราจารย์. (2566). การวิเคราะห์หลักธรรมที่ปรากฏในมหาชาติเวสสันดรชาดก ฉบับสร้อยสังกร ตามกรอบแนวคิดธรรมนูญชีวิตของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตโต). วารสารรัฐศาสตร์รอบรู้และสหวิทยาการ. 6(3). พฤษภาคม-มิถุนายน,หน้า 105-124. (TCI 2)
- สุรธอม พาแก้ว, บุญเหลือ ใจมโนและขนิษฐา ใจมโน. (2565). วรรณกรรมเพลงของจังหวัดเพชรบูรณ์ ประเทศไทย และวรรณกรรมเพลงแขวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว: การศึกษาภาพสะท้อนทางสังคม. วารสารวิชาการ มจร บุรีรัมย์. 7 (2): 52-64. (TCI 2)
- Patumvadee Lamlert, Kanita Chaimano, Boonlue Chaimano and Pratuang Dinnaratna. (2021). Image of Thai and Loa’s Women in Southeast Asian Writers Award Literatures. Rigeo 11 (10): 2367-2379. (SCOPUS Q3)
- สุประวีณ์ แสงอรุณเฉลิมสุข, Truong Thi Hang, ประจักษ์ สายแสง และบุญเหลือ ใจมโน. (2564). การวิเคราะห์ลักษณะของตัวละครเอกหญิงที่มีการเดินทางทางจิตวิญญาณในนวนิยายแนวศาสนาของทมยันตี. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. 10 (1):143-153. (TCI 2)
- หยาง จิ้น ธนพร หมูคำ บุญเหลือ ใจมโน และภูริวรรณ วรานุสาสน์. (2564). การประกอบสร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมชาในวรรณกรรมพื้นบ้านชาวหุย. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 9(2): 63-82. (TCI 1)
- อรทัย สุขจ๊ะ, ขนิษฐา ใจมโน, สนมครุฑเมือง และบุญเหลือใจมโน. (2564). วรรณกรรมเพลงกล่อมเด็กจังหวัดลำปาง : การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงและความคงอยู่. วารสารวิจัยทางภาษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 16 (1): 150-163. (TCI 2)
- นภาพร แสงสุข, บุญเหลือ ใจมโนและเอกฉัท จารุเมธีชน. (2564). การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมเพลงลูกทุ่งของไทยและลาว: การวิเคราะห์ภาพพจน์และภาพสะท้อนสังคม.วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง 10 (2): 58-69. (TCI 2)
- บุญเหลือ ใจมโน. (2564). ภาษาบาลีสันสกฤตในภาษาไทย (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: ดีเซมเบอรี่.
- บุญเหลือ ใจมโน. (2564). อักษรธรรมล้านนา. กรุงเทพฯ: ดีเซมเบอรี่.
- บุญเหลือ ใจมโน. (2564). สุนทรียภาพในบทกวีนิพนธ์. กรุงเทพฯ: ดีเซมเบอรี่.
- Boonlue Chaimano and Kanita Chaimano.(2020). Linguistic Status of Tai Dialects Spoken in the Northern Part of Thailand. Proceedings of the 1st International Conference on Languages and Humanities 2020, 6-7 January 2020 YUFL (Humanities for Diverse Society). Yangon: Yangon University of Foreign Languages. 155-165.
- Prachacksha Saisang, Boonlue Chaimano & Truong Thi Hang. (2020).President Ho ChiMinh, who settled the relationship between Vietnam and Thailand in the present time. Proceedings of the 1st International Conference on Languages and Humanities 2020, 6-7 January 2020 YUFL (Humanities for Diverse Society). Yangon: Yangon University of Foreign Languages. 164-173.
- สุประวีณ์ แสงอรุณเฉลิมสุข, Truong Thi Hang, บุญเหลือ ใจมโน, และประจักษ์ สายแสง. (2563). การวิเคราะห์การเดินทางทางจิตวิญญาณของตัวละครเอกหญิงในนวนิยายแนวศาสนาของทมยันตี. วารสารวิชาการคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 15 (2): 91-104. (TCI 1)
- วิไลรัตน์ จิตต์ภักดี, บุญเหลือ ใจมโน และสนม ครุฑเมือง. (2563). คำพื้นฐานช่วงชั้นที่ 1 ระหว่างภาษาไทยกับภาษาลาว: การศึกษาชนิดของคำ คำที่เป็นรูปธรรม คำที่เป็นนามธรรม และความยากง่ายของคำ. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์. 20 (1): 21-32. (TCI 2)
- เพียงพิณ ปลอดโปร่ง, บุญเหลือ ใจมโน และสนม ครุฑเมือง.(2563). บทขับซอพื้นเมืองกลุ่มชาติพันธุ์ไท: การศึกษาเปรียบเทียบบทขับซอพื้นเมืองล้านนากับบทขับซอพื้นเมืองเชียงตุง. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์. 20 (1): 53-62. (TCI 2)
- พระศรีรัตนมุนี (ขวัญรัก เกษรบัว), บุญเหลือ ใจมโน, และสนม ครุฑเมือง. (2562). ภูมินามวัดในประเทศไทยและประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว : การเปรียบเทียบการตั้งชื่อ. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น. 6 (4): 621 – 638. (TCI 2)
- บุญเหลือ ใจมโน. (2560). การเปรียบเทียบคำลักษณนามในภาษาไทย 4 ถิ่น. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. 6(2): 73-90. (TCI 2)
+